24 กรกฎาคม 2551

10 อันดับรถที่แพงที่สุดในโลก

THE 10 MOST EXPENSIVE CARS IN THE WORLD



อร๊ากกกกกกกกกกก~~!!! อยากได้หมดทุกคันเลยอ่ะ โดยเฉพาะคันที่ 9 กับคันที่ 1 +___________+

Credit : Bloggang คับป๋ม

16 กรกฎาคม 2551

โคลอสเซียม [Colisée]

Colisée

Le Colisée, à l'origine amphithéâtre Flavien (latin : Amphitheatrum Flavium, italien : Anfiteatro Flavio ou Colosseo), est un amphithéâtre elliptique situé dans le centre de la ville de Rome, entre l'Esquilin et le Caelius, le plus grand jamais construit dans l'Empire romain. Il est l'une des plus grandes oeuvres de l'architecture et de l'ingénierie romaines.

Sa construction, juste à l'est du Forum romain, a commencé entre 70 et 72, sous l'empereur Vespasien, et s'est achevée en 80 sous Titus. D'autres modifications ont ensuite été apportées au cours du règne de Domitien (81-96).[1] Le nom d'amphithéâtre Flavien dérive du nom de famille (gens Flavia) des deux empereurs Vespasien et Titus.

Pouvant accueillir entre 50 000 et 75 000 spectateurs[2], le Colisée a été utilisé pour les combats de gladiateurs et autres spectacles publics. Il est resté en service pendant près de 500 ans, les derniers jeux se prolongeant jusqu'au VIe siècle. Outre les jeux traditionnels de gladiateurs, de nombreux autres spectacles y ont été organisés, tels que des simulacres de batailles navales, des chasses d'animaux sauvages, des exécutions publiques, des reconstitutions de batailles célèbres et des drames basés sur la mythologie romaine. Le bâtiment a finalement cessé d'être utilisé au cours du haut Moyen Âge. Il a plus tard été réutilisé pour des buts variés tels que des habitations, des ateliers d'artisans, le siège d'un ordre religieux, une forteresse, une carrière et un sanctuaire chrétien.

Bien qu'il soit maintenant en état de ruine en raison des dommages causés par les tremblements de terre et la récupération des pierres, le Colisée est considéré comme un symbole de la Rome Impériale. Aujourd'hui, il est l'un de ceux de la Rome moderne, une des attractions touristiques les plus populaires et a encore des liens étroits avec l'Église catholique romaine : chaque Vendredi saint, le pape mène une procession aux flambeaux sur un chemin de croix aboutissant à l'amphithéâtre.

Le Colisée est représenté sur la pièce de monnaie italienne de 5 centimes d'euro.

โคลอสเซียม


โคลอสเซียม (อังกฤษ: Colosseum; อิตาลี: Colosseo - โคลอสโซ) เป็นสนามกีฬากลางแจ้งขนาดใหญ่ตั้งอยู่ใจกลางกรุงโรม เริ่มสร้างขึ้นในสมัยจักรพรรดิเวสปาเซียนแห่งอาณาจักรโรมัน และสร้างเสร็จในสมัยของจักรพรรดิติตัส (Titus) ในคริสต์ศตวรรษที่ 1 หรือประมาณปี ค.ศ. 80 อัฒจันทร์เป็นรูปวงกลมก่อด้วยอิฐและหินทรายวัดโดยรอบได้ประมาณ 527 เมตร สูง 57 เมตร สามารถจุผู้ชมได้ประมาณ 50,000 คน มีการออกแบบอย่างชาญฉลาดโดยสร้างให้สนามกีฬามีลักษณะเป็นรูปวงรี เพื่อให้ผู้ชมรู้สึกเข้าใกล้นักกีฬา และมีการออกแบบทางระบายน้ำเพื่อไม่ให้น้ำท่วมขังในสนามขณะเกิดฝนตก ถือเป็นต้นแบบของสนามกีฬาต่างๆในปัจจุบัน
ในบางครั้งจะมีการเรียกชื่อ โคลิเซียม (Coliseum)
7 กรกฎาคม พ.ศ. 2550 โคลอสเซียมได้รับเลือกให้เป็น1 ในเจ็ดสิ่งมหัศจรรย์ของโลกยุคใหม่ จากการลงคะแนนทั่วโลกทั้งทางอินเทอร์เน็ตและโทรศัพท์มือถือ

Credit : Wikipedia

วิธีถนอมสายตาสำหรับผู้ที่ทำงานหน้าคอม


วิธีถนอมสายตาสำหรับผู้ที่ทำงานหน้าคอม

วิธีถนอมสายตานี้น่าสนใจดี โดยเฉพาะผู้ที่ต้องทำงานหน้าคอมพิวเตอร์ทุกวัน เป็นวิธีถนอมดวงตาคิดค้นขึ้นโดย จักษุแพทย์ชาวอเมริกันชื่อว่านายแพทย์ วิลเลียม เอช. เบตส์ (ค.ศ. 1860-1931)

วันหนึ่งนายแพทย์เบตส์กลับจากทำงานด้วยดวงตาอันอ่อนล้า เขานั่งลงที่โต๊ะทำงานในห้องที่ยังไม่ได้เปิดไฟ วางข้อศอกทั้งสองข้างลงบนโต๊ะ โค้งอุ้งมือทั้งสองวางครอบดวงตาของตน หลับตาพักผ่อนในท่านั้นอยู่สิบนาที พอลืมตาขึ้นอีกครั้งหนึ่งเขารู้สึกว่าอาการปวดเมื่อยดวงตาหายไป แถมมองเห็นสิ่งต่างๆ ในห้องชัดเจนขึ้นกว่าเก่าอีกด้วย

จากจุดเริ่มต้นดังกล่าวนายแพทย์เบตส์ได้ค้นคิดวิธีการฝึกสายตาอย่างธรรมชาติ เพื่อพักผ่อนกล้ามเนื้อตาและช่วยรักษาสายตาให้ดีขึ้น นายแพทย์เบตส์เขียนหนังสือชื่อ Perfect Sight without Glasses เป็นที่นิยมแพร่หลาย แม้ภายหลังเขาเสียชีวิต แต่วิธีการของนายแพทย์เบตส์ยังได้รับการเผยแพร่โดยแพทย์ทั้งหลายทั่วยุโรปและอเมริกา

วิธีของเบตส์" มี 7 ท่าด้วยกัน

ท่าที่ 1 ครอบดวงตา โค้งอุ้งมือทั้งสองครอบดวงตาไว้เฉย ๆ ระวังอย่าให้อุ้งมือกดทับดวงตา นึกถึงบรรยากาศที่ผ่อนคลาย เช่น วันพักผ่อนสุดสัปดาห์ตามป่าเขาหรือชายทะเล อยู่ในท่านี้สัก 10 นาที

ท่าที่ 2 สร้างจินตภาพ ต่อจากท่าที่ 1 ยังคงครอบดวงตาอยู่ สร้างจินตภาพว่าตนเองกำลังมองวัตถุบางอย่างที่มีสีสันสดใส มีรายละเอียดต่างๆ ที่ชัดเจน เช่น มองเห็นดอกเบญจมาศสีเหลืองสวย เห็นกลีบดอกแต่ละกลีบละเอียดชัดเจน สายตาที่คมชัดจากจินตนาการของเราเองจะช่วยเยียวยาสายตาจริง ๆ ของเราได้เป็นอย่างดี

ท่าที่ 3 กวาดสายตา มองแบบไม่ต้องจ้อง (คนสายตาสั้นมักจ้องและเขม้นตา) กวาดสายตาไปตามวัตถุที่อยู่ไกล ๆ ทางโน้นบ้างทางนี้บ้าง ทำให้ตาของเราได้ผ่อนคลาย

ท่าที่ 4 กะพริบตา ฝึกนิสัยให้กะพริบตา 1-2 ครั้ง ทุก ๆ 10 วินาที ช่วยให้แก้วตาสะอาดและมีน้ำหล่อเลี้ยง โดยเฉพาะคนที่สวมแว่นหรือคอนแท็กต์เลนส์ยิ่งจำเป็น

ท่าที่ 5 โฟกัสภาพใกล้และไกล เหยียดแขนซ้ายไปให้ไกลที่สุด ตั้งนิ้วชี้มือซ้ายขึ้นเพื่อเป็นจุดโฟกัส ขณะเดียวกัน ตั้งนิ้วชี้มือขวาให้ห่างจากใบหน้าสัก 3 นิ้ว (7.5 ซม.) โฟกัสภาพที่แต่ละนิ้วสลับกันไปมา ทำบ่อยๆ เมื่อโอกาสอำนวย

ท่าที่ 6 ชโลมดวงตา ตื่นนอนทุกเช้าใช้มือวักน้ำชโลมดวงตาด้วยน้ำอุ่น สัก 20 ครั้ง สลับกับการวักน้ำเย็นชโลมดวงตาอีก 20 ครั้ง ทั้งนี้เพื่อช่วยให้เลือดหมุนเวียนมาเลี้ยงดวงตาดีขึ้น การจบด้วยน้ำเย็น ทำให้กล้ามเนื้อตาและหนังตากระชับไม่หย่อนยาน ก่อนเข้านอนให้วักน้ำชโลมดวงตาอีกครั้งหนึ่ง แต่คราวนี้ชโลมด้วยน้ำเย็นก่อนแล้วตามด้วยน้ำอุ่น จะทำให้กล้ามเนื้อตาและหนังตาได้ผ่อนคลาย ก่อนเข้านอน

ท่าที่ 7 แกว่งตัว ยืนแยกเท้าเท่ากับช่วงไหล่ แกว่งตัวไปมาจากซ้ายไปขวา ถ่ายน้ำหนักตัวบนขาแต่ละข้างสลับไปมา สายตามองไปไกลๆ แต่ไม่ต้องจ้อง ปล่อยให้จุดที่เรามองแกว่งไปมาซ้ายขวาตามการแกว่งตัว ท่านี้จะทำให้ดวงตาได้พักและมีการปรับตัวดีขึ้น ทำบ่อย ๆ เมื่อมีโอกาส เปิดเพลงคลอไปด้วยก็ได้

วิธีของเบตส์" ได้รับการยืนยันจากจักษุแพทย์จำนวนมากว่าเป็นการฝึกดวงตา ที่เป็นระบบช่วยรักษา สายตาคนไข้ได้เป็นจำนวนมาก



~ ลองเอาไปใช้ดูนะคับ ^____________^ ~


Credit : thaihomemaster.com

10 อันดับ "ผู้ชายเสียเปรียบผู้หญิง"

~ 10 อันดับ "ผู้ชายเสียเปรียบผู้หญิง" ~
อันดับ 1 ผู้หญิงหอมแก้มกัน : ดูน่ารัก
ผู้ชายหอมแก้มกัน : อืยยย...หวาดเสียว ขนลุก
อันดับ 2 ผู้หญิงใส่กางเกงฟิตๆ : น่ามองจิงๆ น่าชม
ผู้ชายใส่กางเกงฟิตๆ : แหยะ! จะอ้วก
อันดับ 3 ผู้หญิงตบผู้ชาย : ป้องกันตัว หรือ "สุดจะทน"
ผู้ชายตบผู้หญิง : ไอ่หน้าตัวเมีย!
อันดับ 4 ผู้หญิงร้องไห้ : ดูน่าสงสาร
ผู้ชายร้องไห้ : ปลาซิว
อันดับ 5 ผู้หญิงเป็นเพื่อนกัน ดูแลห่วงใยเอาใจใส่กัน : ดูน่ารักดี สดชื่น
ผู้ชายเป็นเพื่อนกัน ดูแลห่วงใยเอาใจใส่กัน : ชักแปลก ดูเหมือนคู่เกย์
อันดับ 6 ผู้หญิงหลอกรับประทานผู้ชาย : อ่อ อาจเป็นเรื่องปกติ
ผู้ชายหลอกรับประทานผู้หญิง : สารเลว เกาะผู้หญิงกิน
อันดับ 7 ผู้หญิงพูดตรงๆ : ดูเป็นคนเปิดเผย
ผู้ชายพูดตรงๆ : ไอ่บ้า พูดไม่เข้าหูคน
อันดับ 8 ผู้หญิงเข้าห้องน้ำผู้ชาย : มันผิดพลาดกันได้!
ผู้ชายเข้าห้องน้ำผู้หญิง : ไอ่บ้า! โรคจิต
อันดับ 9 ผู้หญิงเดินตกท่อ : น่าสงสารจัง เป็นอะไรมากมั้ย?
ผู้ชายเดินตกท่อ : ไอ่โง่! เดินไม่ดูตาม้าตาเรือซะเลย
อันดับ 10 ผู้หญิงขับรถปาดหน้า : ช่างเหอะ ผู้หญิงก้ออย่างนี้แหละ
ผู้ชายขับรถปาดหน้า : แซงขึ้นแล้วยิง!!

ผู้หญิง อะไรๆก็ดีไปโม้ดดดด -O- ( เสียงครวญครางของผู้ชาย บางคน... )

02 กรกฎาคม 2551

Symphonie


Une symphonie est une
composition instrumentale savante,
de proportions généralement vastes, comprenant
plusieurs
mouvements joints ou disjoints, et faisant appel
aux ressources de l'
orchestre symphonique.


Provenant étymologiquement du grec syn, signifiant avec et phoné,
signifiant son, le terme fait référence à la
consonance des sons.
Au Moyen Âge, la chifonie (ou chifoine) désigne un instrument,
ancêtre de la
vielle à roue[1]. Au début du XVIe siècle,
le terme s'étend aux
œuvres polyphoniques destinées
aux instruments, puis s'applique à toutes compositions
instrumentales par opposition à la
musique vocale.
Ce n'est que dans le deuxième tiers du
XVIIIe siècle,
en pleine période de
classicisme que le genre est fixé
dans son acception actuelle.

L'orchestre symphonique a évolué avec le temps.
Chez Haydn et Mozart, l'orchestre se compose de
flûtes ,
hautbois , clarinettes, bassons par 2, de 2 cors et, quelquefois
de 2
trompettes, de timbales et de cordes. Beethoven a ajouté 2 cors,
1 piccolo, 1
contrebasson et une batterie (symphonies 5, 6 et 9),
en plus des trombones dans les symphonies 5, 6 et 9.


La harpe apparaît dans la forme symphonique avec
la
"Symphonie fantastique" de Berlioz en 1830, mais elle était
utilisée parfois dans l'orchestre depuis au moins 1810, car c'était
un instrument très populaire (voir œuvres de
Salieri ou Spohr) .
Puis dans un sillon initié par la musique de Wagner, les effectifs
ne cessent de grossir avec l'orchestre de Schumann, Brahms,
puis Bruckner, Mahler et leurs descendants.


Beethoven a introduit, dans sa dernière symphonie
(la
neuvième de 1824), un chœur, le fameux Ode à la joie
de
Schiller, qui deviendra l'hymne de l'Union européenne une fois
arrangé et orchestré par
Karajan. D'autres compositeurs ont
repris cette innovation, comme par exemple
Gustav Mahler
dans trois de ses symphonies (les numéros 2, 3 et 8)
ou
Chostakovitch dans sa Treizième.


L'orchestre symphonique peut inclure également un
piano
ou un
orgue (Camille Saint-Saëns), mais le plus souvent un célesta.


Une autre transformation de la symphonie est née avec Mahler,
c'est la symphonie vocale, pour un soliste ou plus,
sur un texte poétique.
Le Chant de la terre
(composé entre 1907 et 1908) marque cette tentative (quasi-parfaite,
on peut le dire) de fusionner lied et symphonie, et notons-le,
au service d'un pessimisme des plus profonds,
comme bien plus tard l'extraordinaire Quatorzième de Chostakovitch.
La structure symphonique dans le Das Lied est respectée même
pour le Scherzo qui occupe les quatrième et cinquième mouvements.
Mahler avait déjà dans la Symphonie n° 4 (1901) inauguré le principe,
mais dans un seul mouvement.


Arthur Honegger, dans sa Deuxième symphonie de 1941,
infléchira la démesure de l'orchestration au service d'une intensité
nouvelle que réclame le contexte dramatique, en n'utilisant que
les cordes et une trompette solo dans le choral du finale
où la musique retrouve la lumière de l'espoir.